หน่วยงาน ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ | |||||||||||||||||||||
ลำดับที่ : | 1 | ||||||||||||||||||||
ชื่อโครงการ : | โครงการบริหารจัดการหน่วยงานค่าใช้จ่ายขั้นต่ำตามสิทธิ์ | ||||||||||||||||||||
ยุทธศาสตร์ : | 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล | ||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ : |
20. การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) |
||||||||||||||||||||
cluster : |
กลุ่ม FIN |
||||||||||||||||||||
กิจกรรมสำคัญ/โครงการ : |
(79)25.6 การบริหารจัดการค่าใช้จ่ายขั้นต่ำตามสิทธิ |
||||||||||||||||||||
แผนจัดสรรงบประมาณ : |
10. แผนงานบุคลากรภาครัฐ |
||||||||||||||||||||
หลักการและเหตุผล : | ตามที่ศูนย์ทันตสาธารณสุขมีบทบาทหน้าที่ตามภารกิจหลักขององค์กรโดยเป็นหน่วยงานที่เน้นด้านการพัฒนากลไกสนับสนุน และมาตรฐานทางวิชาการ และระบบสารสนเทศทันตสาธารณสุขในชุมชนที่เชื่อมโยงทั้งในระดับ Global-Local โดยมีขอบเขตการดำเนินงานคือวิจัย (Research) สัมมนา ฝึกอบรม (Training) สาธิต (Demonstration) การดำเนินงานตามโครงสร้างหน่วยงานศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศจึงมีบุคลากรที่สนับสนุนบทบาทภารกิจดังกล่าวที่เป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับค่าใช้จ่ายตามสิทธิ์ ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศมีบุคลากรผู้มีสิทธิ์ได้รับค่าตอบแทนเงินเพิ่มพิเศษแพทย์ที่ไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว และค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุข (พ.ต.ส.) จำนวนทั้งสิ้น 5 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรผู้มีสิทธิ์และเป็นการเบิกจ่ายตามสิทธิ์ที่ได้รับดังกล่าวจึงจัดทำโครงการการบริหารจัดการหน่วยงานค่าใช้จ่ายขั้นต่ำตามสิทธิ์ขึ้น | ||||||||||||||||||||
วัตถุประสงค์ : | เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายขั้นต่ำตามสิทธิ์ | ||||||||||||||||||||
เป้าหมายและตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ : |
หน่วยงานมีการบริหารจัดการค่าใช้จ่ายขั้นต่ำตามสิทธิที่มีประสิทธิภาพ 1 หน่วยงาน | ||||||||||||||||||||
วิธีการดำเนินงาน : | 1.สำรวจจำนวนผู้มีสิทธิ์ได้รับเงินเพิ่มพิเศษแพทย์ที่ไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว และค่าตอบแทนกำลังคนด้าน สาธารณสุข (พ.ต.ส.) 2.จัดทำแผนการจ่ายเงินงบประมาณ 3. จัดทำแผนควบคุมความเสี่ยง 4. ขออนุมัติโครงการ | ||||||||||||||||||||
กิจกรรม/เป้าหมาย และประมาณการงบประมาณ : |
|
||||||||||||||||||||
งบประมาณ : | 728,233.00 บาท | ||||||||||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินการ : | 1 ต.ค. 2560 - 30 ก.ย. 2561 | ||||||||||||||||||||
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : | 1. บุคลากรได้รับค่าตอบแทนแพทย์ที่ไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว 2. บุคลากรได้รับค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุข (พ.ต.ส.) | ||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ : | นางราตรี เหนือกลาง ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน โทร053-140141 E-mail : ratree.n@anamai.mail.go.th | ||||||||||||||||||||
ผู้เสนอโครงการ : | : นางสาวแววดาว ขันหลวง | ||||||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||||||
ผู้เห็นชอบโครงการ : | นางราตรี เหนือกลาง | ||||||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||||||
ผู้อนุมัติโครงการ : | นายแมนสรวง วงศ์อภัย | ||||||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
หน่วยงาน ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ | |||||||||||||
ลำดับที่ : | 2 | ||||||||||||
ชื่อโครงการ : | โครงการสนับสนุนการดำเนินงานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข | ||||||||||||
ยุทธศาสตร์ : | 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล | ||||||||||||
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ : |
20. การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) |
||||||||||||
cluster : |
กรมอนามัย |
||||||||||||
กิจกรรมสำคัญ/โครงการ : |
(78)25.5 การบริหารจัดการหน่วยงาน |
||||||||||||
แผนจัดสรรงบประมาณ : |
2. แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ |
||||||||||||
หลักการและเหตุผล : | ตามที่ศูนย์ทันตสาธารณสุขมีบทบาทหน้าที่ตามภารกิจหลักขององค์กรโดยเป็นหน่วยงานที่เน้นด้านการพัฒนากลไกสนับสนุน และมาตรฐานทางวิชาการ และระบบสารสนเทศทันตสาธารณสุขในชุมชนที่เชื่อมโยงทั้งในระดับ Global-Local โดยบทบาทของศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ เป็นหน่วยงานที่ดำเนินงานด้านพัฒนาและถ่ายทอด เทคโนโลยี สื่อ นวัตกรรม และเครื่องมือด้านการส่งเสริมป้องกันที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากที่มีความเหมาะสมกับชุมชนและบริบทของประเทศ ตามความจำเป็นและความต้องการของเขตบริการสุขภาพ และดำเนินงานสนับสนุนสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัยและกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงการเป็นหน่วยงานที่สนับสนุนพื้นที่ศึกษาดูงานและเรียนรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับกรมอนามัย โดยทำงานร่วมกับศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศและสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย พร้อมทั้งสาธิตรูปแบบวิธีการ เครื่องมือ และผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาโดยกรมอนามัยไปประยุกต์และปรับใช้ในภูมิภาคด้วยกระบวนการความร่วมมือกับต่างประเทศให้มีความเหมาะสมและเพื่อให้เกิดต้นแบบการส่งเสริมป้องกันทางสุขภาพช่องปากที่มีความเหมาะสมในแต่ละประเทศ โดยเน้นในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน วัยทำงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ การดำเนินการดังกล่าวมีโครงสร้างทางการบริหาร 3 กลุ่มงาน ที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนงานตามแผนงาน คือกลุ่มงานพัฒนาวิชาการ กลุ่มงานคลินิกสาธิตทันตกรรม และกลุ่มงานอำนวยการ ซึ่งจะต้องทำงานสอดประสานและสนับสนุนภารกิจขององค์กรให้ประสบผลสำเร็จ เพื่อให้การดำเนินการตามบทบาทภารกิจของหน่วยงานสัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมายและตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ จึงจัดทำโครงการสนับสนุนการดำเนินงานของกรมอนามัย ดังกล่าว | ||||||||||||
วัตถุประสงค์ : | เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน | ||||||||||||
เป้าหมายและตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ : |
หน่วยงานมีการบริหารจัดการหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ จำนวน 1 หน่วยงาน | ||||||||||||
วิธีการดำเนินงาน : | 1. จัดทำแผนการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2. จัดทำแผนควบคุมความเสี่ยง 3. ขออนุมัติโครงการ | ||||||||||||
กิจกรรม/เป้าหมาย และประมาณการงบประมาณ : |
|
||||||||||||
งบประมาณ : | 1,290,175.00 บาท | ||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินการ : | 1 ต.ค. 2560 - 30 ก.ย. 2561 | ||||||||||||
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : | หน่วยงานมีการบริหารจัดการหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ : | นางราตรี เหนือกลาง ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน โทร053-140141 E-mail : ratree.n@anamai.mail.go.th | ||||||||||||
ผู้เสนอโครงการ : | นางสาวแววดาว ขันหลวง | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||
ผู้เห็นชอบโครงการ : | นางราตรี เหนือกลาง | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||
ผู้อนุมัติโครงการ : | นายแมนสรวง วงศ์อภัย | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
หน่วยงาน ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ | |||||||||||||||||||||||||
ลำดับที่ : | 3 | ||||||||||||||||||||||||
ชื่อโครงการ : | โครงการวิจัย “การพัฒนาและใช้แอพพลิเคชั่น (Application) ร่วมกับแบบจำลองสภาพช่องปากแบบเสมือนจริงในการตรวจคัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุประเทศไทย” | ||||||||||||||||||||||||
ยุทธศาสตร์ : | 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม | ||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ : |
13. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพ (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) 14. ร้อยละของผู้สูงอายุ (60-74 ปี) มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ และ 4 คู่สบ |
||||||||||||||||||||||||
cluster : |
กลุ่มผู้สูงอายุ |
||||||||||||||||||||||||
กิจกรรมสำคัญ/โครงการ : |
(51)16.3 การพัฒนา เทคโนโลยี นวัตกรรม เพื่อการสร้างเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคในช่องปากในประเด็นใหม่ |
||||||||||||||||||||||||
แผนจัดสรรงบประมาณ : |
2. แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ |
||||||||||||||||||||||||
หลักการและเหตุผล : | จากข้อมูลการสำรวจสภาวะช่องปากในประเทศไทยของสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 7 พ.ศ.2555 พบว่าในกลุ่มผู้สูงอายุ 60-74 ปี พบปัญหาการสูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 7.2 และเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยในอายุ 80-89 ปี พบสูงถึงร้อยละ 32.2 1 ซึ่งนับเป็นสถานการณ์ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันและส่งผลต่อคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล และผู้สูงอายุที่มีความต้องการช่วยเหลือพิเศษ และจากข้อมูลในปี 2542 ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งช่องปาก ในเพศชาย 5.2 และเพศหญิง 4.6 ต่อประชากรแสนคน และพบว่าอัตราการมีชีวิตรอดระยะ 5 ปี มีความสัมพันธ์อย่างยิ่งกับระยะการเกิดโรค การตรวจพบโรคระยะแรกเริ่มและได้รับการรักษาโดยเร็วจะทำให้อัตราการรอดสูงขึ้น โดยภาพรวมมะเร็งช่องปากที่มีระยะการเกิดโรค (stage) ที่ 1 หรือ 2 จะมีอัตราการมีชีวิตรอดร้อยละ 70 หากเป็นระยะที่ 3 และ 4 จะลดลงเหลือร้อยละ 50 และ 35 ตามลำดับ นอกจากนี้สภาพบริบทการทำงานของทันตบุคลากรและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ต้องทำการตรวจ คัดกรอง เก็บข้อมูลสภาวะทางทันตสุขภาพ และวางแผนงานเฝ้าระวัง มีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการในการให้บริการด้านทันตกรรมและทันตสาธารณสุข สภาพปัญหาที่ทางภาครัฐยังขาดการวางระบบการบันทึกข้อมูลทันตสุขภาพ ระบบการฝึกแบบจำลองเสมือนจริง (Simulation System) และการใช้ข้อมูลทางวิชาการ เพื่อประกอบการตัดสินใจในการให้บริการทางทันตกรรมและทันตสาธารณสุข ส่งผลทำให้เกิดปัญหาด้านการจัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อใช้ในการบริหารจัดการระบบในคลินิกและสถานบริการในชุมชนในด้านการรับผู้ป่วย การตรวจ คัดกรองและจัดการมะเร็งช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ ดังนั้นเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจ คัดกรองสภาพช่องปาก และรอยโรคมะเร็งในช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ รวมทั้งได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีจากตนเอง/ผู้ดูแล (Care giver และ Care Manager) อาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และทันตบุคลากร ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ กรมอนามัย จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแบบฟอร์มเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพ โดยการออกแบบและพัฒนาเป็น Application ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปาก ซึ่งพัฒนามาจากแบบการตรวจและประเมินสุขภาพช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุของสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ซึ่งได้ดำเนินการวิจัยร่วมกับคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทันตแพทย์และทันตบุคลากรในจังหวัดร้อยเอ็ด ในการออกแบบและพัฒนาแบบตรวจรอยโรคในช่องปาก เพื่อใช้ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคช่องปากในคลินิกทันตกรรมและชุมชน โดยได้งบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นอกจากการใช้ Application ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปากแล้ว ทางศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศได้ออกแบบและพัฒนาแบบจำลองช่องปากและรอยโรคมะเร็งในช่องปากแบบเสมือนจริง เพื่อใช้เป็นสื่อ นวัตกรรมในการเรียนรู้ และเป็นอุปกรณ์ เครื่องมือ ในการช่วยฝึกการตรวจสภาพช่องปากและรอยโรคมะเร็งในช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุให้แก่ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทันตบุคลากรและทันตแพทย์ นอกจากนี้ข้อมูลที่ได้จากการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากสามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจในการวางแผนการการส่งต่อ เพื่อรักษาโรคมะเร็งช่องปาก และเป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังทางทันตสาธารณสุขในชุมชนได้ ซึ่งจะเป็นต้นแบบในการพัฒนาขยายเป็นวงกว้างในเขตสุขภาพทั่วประเทศต่อไป | ||||||||||||||||||||||||
วัตถุประสงค์ : | 1. เพื่อออกแบบ วิจัย และพัฒนา Application และแบบสัมภาษณ์ เพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองมะเร็งในช่องปาก ประเมินสุขภาพช่องปาก และงานเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพ 2. เพื่อพัฒนาต้นแบบและทักษะในการเก็บข้อมูลด้านการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยใช้ Application และระบบการฝึกแบบจำลองเสมือนจริง 3. เพื่อพัฒนาต้นแบบในการฝึกอบรมด้านการบันทึกข้อมูลและการใช้ข้อมูลทางวิชาการในการพัฒนางานเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพให้แก่ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทันตบุคลากร และทันตแพทย์ 4. เพื่อเป็นเวทีที่จะระดมแนวความคิดในการพัฒนาโมเดลต้นแบบด้านการตรวจคัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปาก และระบบการฝึกแบบจำลองเสมือนจริงให้มีคุณภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด สามารถนำผลการประชุมที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานและภาคีเครือข่ายทั่วประเทศต่อไป 5. เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ มาใช้เป็นฐานข้อมูลทางระบบเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพต่อไป | ||||||||||||||||||||||||
เป้าหมายและตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ : |
1. เป้าหมาย/ผลผลิตของโครงการ ผู้สูงอายุในจังหวัดต้นแบบ (เชียงใหม่, เชียงราย, พะเยา, ลำปาง ฯลฯ) และจังหวัดที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปาก จำนวน 10,000 คน ผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่สาธารณสุขนักวิชาการคอมพิวเตอร์หรือผู้รับผิดชอบระบบข้อมูล ทันตบุคลากรและทันตแพทย์ ได้รับการฝึกอบรมด้านการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากจากแบบจำลองสภาพช่องปากแบบเสมือนจริง และฝึกอบรมด้านการบันทึกและส่งต่อข้อมูลโดยใช้ Application จำนวน 950 คน 2. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ เชิงปริมาณ : ผลงานวิจัยถูกนำไปเผยแพร่แหล่งต่างๆ เช่น เวปไซด์,จดหมายข่าว, วารสาร หรือนำเสนอในเวทีประชุมวิชาการต่างๆ ฯลฯ 1 เรื่อง เชิงคุณภาพ : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากมีการตรวจพบ/สงสัย ผู้สูงอายุจะได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและได้รับรักษารอยโรคมะเร็งช่องปากตามสิทธิการรักษาของตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อไป >3 จังหวัดต้นแบบ | ||||||||||||||||||||||||
วิธีการดำเนินงาน : | 1.ศึกษาความต้องการจากภาคีเครือข่ายทางวิชาการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อออกแบบและพัฒนา Application และแบบจำลองสภาพช่องปากแบบเสมือนจริง เพื่อใช้ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปาก 2.ประสานงานกับมูลนิธิทันตนวัตกรรม สำนักทันตสาธารณสุข ศูนย์อนามัยเขตที่ 1-12 และสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เพื่อวางแผนการดำเนินงานในภาพรวมของโครงการ 3.จัดฝึกอบรมให้แก่ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นักวิชาการ คอมพิวเตอร์หรือผู้รับผิดชอบระบบข้อมูล ทันตบุคลากรและทันตแพทย์ เพื่อพัฒนาต้นแบบ Application ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปากร่วมกับแบบจำลองสภาพช่องปากแบบเสมือน จริงในจังหวัดต้นแบบ (เชียงใหม่, เชียงราย, พะเยา, ลำปาง, นครศรีธรรมราช ฯลฯ) 4.ประเมินผลและปรับปรุง Application ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปาก และแบบจำลอง สภาพช่องปากแบบเสมือนจริง 5.ดำเนินการขยายผลโครงการฝึกอบรมให้แก่ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข นักวิชาการคอมพิวเตอร์หรือผู้รับผิดชอบระบบข้อมูล ทันตบุคลากรและทันตแพทย์ให้กับ ศูนย์อนามัยเขตที่ 1-12 และสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง รวมถึงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ และสถานบริการภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ที่ เข้าร่วมโครงการ 6.เก็บข้อมูลและสรุปผลการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปาก รวมถึงข้อมูลการส่งต่อ เพื่อการ ยืนยันผลการวินิจฉัยและการรักษารอยโรคมะเร็งช่องปาก 7.ประเมินผล ปรับปรุงระบบ เพื่อพัฒนา Application ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปาก ร่วมกับแบบจำลองสภาพช่องปากแบบเสมือนจริงต่อไป เพื่อใช้ในการดำเนินการต่อในปีงบประมาณ 2562 ต่อไป | ||||||||||||||||||||||||
กิจกรรม/เป้าหมาย และประมาณการงบประมาณ : |
|
||||||||||||||||||||||||
งบประมาณ : | 900,000.00 บาท | ||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินการ : | 1 ต.ค. 2560 - 31 พ.ค. 2562 | ||||||||||||||||||||||||
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : | 1. Application สำหรับใช้ในการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปาก เพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปาก และงานเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพ 2. ต้นแบบในการเก็บข้อมูลด้านการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยใช้ Application และระบบการฝึกแบบจำลองเสมือนจริง 3. รูปแบบในการฝึกอบรมในการตรวจ บันทึกข้อมูลและการใช้ข้อมูลทางวิชาการในการพัฒนางานเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพให้แก่ทันตบุคลากร เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 4. โมเดลต้นแบบด้านการตรวจคัดกรองมะเร็งในช่องปากและระบบการฝึกแบบจำลองเสมือนจริงที่มีประสิทธิภาพ สามารถนำผลที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานและภาคีเครือข่ายทั่วประเทศต่อไป 5. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งในช่องปาก หากมีการตรวจพบ/สงสัย ผู้สูงอายุจะได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและได้รับการรักษารอยโรคมะเร็งช่องปากตามสิทธิการรักษาของตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อไป 6. ข้อมูลที่ได้จากการตรวจ คัดกรองรอยโรคมะเร็งช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ สามารถนำมาใช้วิเคราะห์เป็นฐานข้อมูลทางระบบเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพต่อไป | ||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ : | ทพ.ดร.แมนสรวง วงศ์อภัย ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ เบอร์โทร 053-140141 E-mail :mansuang.w@anamai.mail.go.th | ||||||||||||||||||||||||
ผู้เสนอโครงการ : | ทพ.ดร.แมนสรวง วงศ์อภัย ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ | ||||||||||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||||||||||
ผู้เห็นชอบโครงการ : | ทพ.ดร.แมนสรวง วงศ์อภัย ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ | ||||||||||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||||||||||
ผู้อนุมัติโครงการ : | ทพ.ดร.แมนสรวง วงศ์อภัย ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ | ||||||||||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
หน่วยงาน ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ | |||||||||||||||||
ลำดับที่ : | 4 | ||||||||||||||||
ชื่อโครงการ : | โครงการการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมปีงบประมาณ 2561 | ||||||||||||||||
ยุทธศาสตร์ : | 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ : |
20. การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) |
||||||||||||||||
cluster : |
กลุ่ม KISS |
||||||||||||||||
กิจกรรมสำคัญ/โครงการ : |
(71)24.1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การจัดการความรู้ และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม |
||||||||||||||||
แผนจัดสรรงบประมาณ : |
2. แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ |
||||||||||||||||
หลักการและเหตุผล : | กรมอนามัยได้กำหนดทิศทางและกรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของหน่วยงานในสังกัด กรมอนามัย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดนั้น ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ในการขับเคลื่อนนโยบาย Thailand 4.0 ให้การทำงานมีความเชื่อมโยงสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกันอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและไม่ซ้ำซ้อน งานสารสนเทศ ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ จึงเล็งเห็นการที่จะขับเคลื่อนหน่วยงานให้เป็นไปตามนโยบาย Thailand 4.0 จะต้องเริ่มจากการพัฒนาบุคลากรด้านสารสนเทศก่อน เพื่อเป็นการพัฒนางานด้านสารสนเทศแล้วนำเทคโนโลยีไปต่อยอดองค์ความรู้หรือสนับสนุนการทำงานหลักของหน่วยงานในหลายๆด้าน | ||||||||||||||||
วัตถุประสงค์ : | 1.เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคลากรของหน่วยงานให้มีความรู้ความสามารถในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ DOH Dashboard | ||||||||||||||||
เป้าหมายและตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ : |
บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศที่ได้รับการพัฒนาด้านงานสารสนเทศ จำนวน 12 คน | ||||||||||||||||
วิธีการดำเนินงาน : | 1 วิเคราะห์การใช้งานพื้นฐานของบุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศในการใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานหลักของหน่วยงาน และจัดทำหนังสือเวียนภายในหน่วยงาน 2 จัดทำแผนการดำเนินงาน 3 ประสานงานกับหน่วยงาน หรือสถานที่ฝึกอบรม ในการฝึกอบรม 4 บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศเข้ารับการฝึกอบรม 5 บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศนำความรู้ที่ได้อบรมมาปฏิบัติงานจริง 6 สรุปผลสิ่งที่ได้รับจากการฝึกอบรมและชิ้นงานที่แล้วเสร็จจากการนำไปใช้ | ||||||||||||||||
กิจกรรม/เป้าหมาย และประมาณการงบประมาณ : |
|
||||||||||||||||
งบประมาณ : | 58,800.00 บาท | ||||||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินการ : | 9 ต.ค. 2560 - 13 ธ.ค. 2560 | ||||||||||||||||
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : | 1. บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศมีความรู้ความสามารถในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Office เพิ่มขึ้นไปอีกระดับ 2. หน่วยงานได้ผลงานเพิ่มขึ้น ลดขั้นตอนการทำงาน ปฏิบัติงานได้รวดเร็วมีประสิทธิภาพ | ||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ : | นายธวัชชัย สุธาชัย ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เบอร์โทร 053-140141 E-mail: thawatchai.s@anamai.mail.go.th | ||||||||||||||||
ผู้เสนอโครงการ : | นายธวัชชัย สุธาชัย ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ | ||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||
ผู้เห็นชอบโครงการ : | นายธวัชชัย สุธาชัย ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ | ||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||
ผู้อนุมัติโครงการ : | นายแมนสรวง วงศ์อภัย | ||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
หน่วยงาน ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ | |||||||||||||
ลำดับที่ : | 5 | ||||||||||||
ชื่อโครงการ : | โครงการการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ | ||||||||||||
ยุทธศาสตร์ : | 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล | ||||||||||||
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ : |
20. การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) |
||||||||||||
cluster : |
กลุ่ม KISS |
||||||||||||
กิจกรรมสำคัญ/โครงการ : |
(71)24.1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การจัดการความรู้ และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม |
||||||||||||
แผนจัดสรรงบประมาณ : |
2. แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ |
||||||||||||
หลักการและเหตุผล : | กรมอนามัยได้กำหนดทิศทางและกรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ของหน่วยงานในสังกัด กรมอนามัย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดนั้น ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ในการขับเคลื่อนนโยบาย Thailand 4.0 ให้การทำงานมีความเชื่อมโยงสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกันอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและไม่ซ้ำซ้อน งานสารสนเทศ ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ จึงเล็งเห็นการที่จะขับเคลื่อนหน่วยงานให้เป็นไปตามนโยบาย Thailand 4.0 จะต้องเริ่มจากการพัฒนาบุคลากรด้านสารสนเทศก่อน เพื่อเป็นการพัฒนางานด้านสารสนเทศแล้วนำเทคโนโลยีไปต่อยอดองค์ความรู้หรือสนับสนุนการทำงานหลักของหน่วยงานในหลายๆด้าน | ||||||||||||
วัตถุประสงค์ : | เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคลากรด้านงานผลิตสื่อให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตสื่อคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นไปอีกระดับ | ||||||||||||
เป้าหมายและตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ : |
บุคลากรด้านการผลิตสื่อศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศที่ได้รับการพัฒนาด้านสารสนเทศในการผลิตสื่อ จำนวน 5 คน | ||||||||||||
วิธีการดำเนินงาน : | 1. วิเคราะห์ความสามารถพื้นฐานของบุคลากรด้านงานสารสนเทศ ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ จากการปฏิบัติงาน ในการใช้เขียนโปรแกรมเพื่อสนับสนุนงานหลักของหน่วยงาน 2. จัดทำแผนการดำเนินงาน 3. ประสานงานกับหน่วยงาน หรือสถานที่ฝึกอบรม ในการฝึกอบรม 4. บุคลากรด้านการผลิตสื่อศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศเข้ารับการฝึกอบรม 5. บุคลากรด้านการผลิตสื่อศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศนำความรู้ที่ได้อบรมมาปฏิบัติงานจริง 6. สรุปผลสิ่งที่ได้รับจากการฝึกอบรมและชิ้นงานที่แล้วเสร็จจากการนำไปใช้ | ||||||||||||
กิจกรรม/เป้าหมาย และประมาณการงบประมาณ : |
|
||||||||||||
งบประมาณ : | 11,500.00 บาท | ||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินการ : | 1 ม.ค. 2561 - 31 ม.ค. 2561 | ||||||||||||
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : | 1.บุคลากรด้านงานผลิตสื่อศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศสามารถจัดทำโบว์ชัวร์ ไวนิล และโปสเตอร์ได้ 2. ประชาชนตามพื้นที่กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงสื่อโบว์ชัวร์ ไวนิล และโปสเตอร์ | ||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ : | นายธวัชชัย สุธาชัย ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เบอร์โทร 053-140141 E-mail: thawatchai.s@anamai.mail.go.th | ||||||||||||
ผู้เสนอโครงการ : | นายธวัชชัย สุธาชัย ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||
ผู้เห็นชอบโครงการ : | นายธวัชชัย สุธาชัย ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||
ผู้อนุมัติโครงการ : | นายแมนสรวง วงศ์อภัย | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
หน่วยงาน ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ | |||||||||||||||||
ลำดับที่ : | 6 | ||||||||||||||||
ชื่อโครงการ : | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมอนามัยด้านการพัฒนาวิชาการวิจัยและนวัตกรรม | ||||||||||||||||
ยุทธศาสตร์ : | 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล | ||||||||||||||||
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ : |
20. การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) |
||||||||||||||||
cluster : |
กลุ่ม KISS |
||||||||||||||||
กิจกรรมสำคัญ/โครงการ : |
(71)24.1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การจัดการความรู้ และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม |
||||||||||||||||
แผนจัดสรรงบประมาณ : |
2. แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ |
||||||||||||||||
หลักการและเหตุผล : | ด้วยกรมอนามัยมุ่งเน้นการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และสำนักงาน กพร. มุ่งมั่นให้ทุกส่วนราชการมีการขยายผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ โดยส่งเสริมและพัฒนาระบบการจัดการความรู้ในส่วนราชการให้ต่อเนื่อง ซึ่งมุ่งเน้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์ความรู้ที่สำคัญที่จะมีผลต่อการปฏิบัติราชการ ตามภารกิจของงานได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ประกอบกับ นโยบายอธิบดีที่ต้องการยกระดับกรมอนามัย 4.0 เป็นโมเดลขับเคลื่อนกรมอนามัยมุ่งสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เพื่อขับเคลื่อนผ่านกับดักเชิงซ้อนของระบบราชการและเผชิญกับประเด็นท้าทาย ในการปฏิรูปองค์กร จำเป็นอย่างยิ่งต้องมีกลไกทีมนำ เป็นพลังร่วมสำคัญในการกำหนดทิศทางขับเคลื่อน การพัฒนาองค์กรให้มีความชัดเจน และนำพาทีมก้าวไปสู่วิสัยทัศน์ที่กำหนด แนวคิดการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 ด้วย PMQA ให้หมายถึงการขับเคลื่อนองค์กรให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย เท่าเทียมมาตรฐานสากล ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ภายใต้สังกัดกรมอนามัย จึงต้องมุ่งสร้างความเข้มแข็งให้บุคลากรของหน่วยงานจากภายในขับเคลื่อนองค์กรไปสู่องค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม ในการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบที่สอดคล้องกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 7 หมวด ในการนี้ ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ได้มีการใช้การจัดการความรู้เป็นมิติหนึ่งในด้านการพัฒนาองค์กรเพื่อให้สอดรับกับการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการด้านงานพัฒนาวิจัยและนวัตกรรม โดยการพัฒนาคนที่จะต้องมีความรู้ที่จำเป็นในการทำงานสามารถทำงานได้ครอบคลุมในขอบเขตของงานให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งต้องนำองค์ความรู้จากการจัดการความรู้มาใช้ในกระบวนงานของการปฏิบัติงาน อันจะทำเกิดผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการ | ||||||||||||||||
วัตถุประสงค์ : | -เพื่อให้บุคลากรของหน่วยงานได้ถ่ายทอดมีองค์ความรู้เรื่องการผลิตสื่อ นวัตกรรม ทางทันตสาธารณสุขกับคนรุ่นหลังที่ยังปฏิบัตงานอยู่ - เพื่อบุคลากรของหน่วยงานให้เกิดการเรียนรู้ และดึงประสบการณ์ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มาใช้พัฒนางานในหน้าที่ - เพื่อสร้างและแสวงหาองค์ความรู้/ทุนปัญญาในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ของบุคลากรหน่วยงาน - เพื่อให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการพัฒนาหน่วยงานตามระบบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 7 หมวด - หน่วยงานมีการใช้ PMQA ในการพัฒนาคนและองค์กรให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด - หน่วยงานมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 ด้วย PMQA | ||||||||||||||||
เป้าหมายและตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ : |
บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศที่ได้รับการพัฒนาด้านงานการผลิตสื่อ ทางทันตสาธารณุข จำนวน 10 คน บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศที่ได้เข้าร่วมประชุมโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรหน่วยงาน: การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) จำนวน 27 คน | ||||||||||||||||
วิธีการดำเนินงาน : | 1. วิเคราะห์การใช้งานพื้นฐานของบุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศที่เกี่ยงข้องด้านวิชาการทางทันตสาธารณสุข 2. จัดทำแผนการดำเนินงาน 3. ประสานงานกับผู้มีองค์ความรู้ในการผลิตสื่อ นวัตกรรม หรือสถานที่ฝึกอบรม และประสานผู้เชี่ยวชาญการบริหารงานด้าน PMQA ของกรมอนามัย 4. บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศเข้ารับการฝึกอบรม 5. บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศนำความรู้ที่ได้อบรมมาปฏิบัติงานจริง 6. สรุปผลสิ่งที่ได้รับจากการฝึกอบรมและชิ้นงานที่แล้วเสร็จจากการนำไปใช้ 7. มีการถอดบทเรียนรวมรวบจัดเก็บเป็นคลังความรู้ | ||||||||||||||||
กิจกรรม/เป้าหมาย และประมาณการงบประมาณ : |
|
||||||||||||||||
งบประมาณ : | 30,170.00 บาท | ||||||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินการ : | 1 ธ.ค. 2560 - 31 ม.ค. 2561 | ||||||||||||||||
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : | 1. บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศมีความรู้ความสามารถในการผลิตสื่อได้ประหยัดงบประมาณ 2. มีนวัตกรรมในการเผยแพร่องค์ความรู้ให้กับประชาชนด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพ 3. หน่วยงานมีผลงานเพิ่มขึ้น และมีชื่อเสียงในการสร้างนวัตกรรม 4.บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศมีส่วนร่วมในการพัฒนาหน่วยงานตามระบบเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 7 หมวด 5.หน่วยงานมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 ด้วย PMQA 6.หน่วยงานมุ่งสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล | ||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ : | นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข เบอร์โทร 053-140141 E-mail: numpueng.r@anamai.mail.go.th | ||||||||||||||||
ผู้เสนอโครงการ : | นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข | ||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||
ผู้เห็นชอบโครงการ : | นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข | ||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||||||
ผู้อนุมัติโครงการ : | นายแมนสรวง วงศ์อภัย | ||||||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
หน่วยงาน ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ | |||||||||||||
ลำดับที่ : | 7 | ||||||||||||
ชื่อโครงการ : | โครงการประกวด LIKE Talk ทั่วไทย | ||||||||||||
ยุทธศาสตร์ : | 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล | ||||||||||||
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ : |
20. การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) |
||||||||||||
cluster : |
กลุ่ม KISS |
||||||||||||
กิจกรรมสำคัญ/โครงการ : |
(71)24.1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง การจัดการความรู้ และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม |
||||||||||||
แผนจัดสรรงบประมาณ : |
2. แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ |
||||||||||||
หลักการและเหตุผล : | เรื่องเล่าเร้าพลังมีสถานะเป็นหนึ่งในเครื่องมืออันทรงพลังของการจัดการความรู้ เพระเรื่องเล่าเร้าพลังเป็นการสกัดเอาความรู้ในตัวตนของคนออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาคนและพัฒนางาน พัฒนาองค์กรและสังคมในมิติการแก้ปัญหาและพัฒนาต่อยอดที่ครอบคลุมถึงความรู้ที่เปิดเผย และความรู้ที่ฝังลึกในตัวคน ซึ่งความรู้ประเภทฝังลึกในตัวคนถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นความรู้ เป็นเคล็ดวิชา ภูมิปัญญา หรือเทคนิคที่เกิดจากทำจริงรู้จริง จนก่อเกิดปัญญาของแต่ละบุคคล อันสะท้อนให้เห็นมิติความรู้ที่ฝังลึกในแต่ละคนในสามสถานะ คือ ความรู้ฝังลึกในสมอง ความรู้ฝังลึกในการปฏิบัติ และความรู้ฝังลึกในจิตใจ การนำเสนอเรื่องเล่าเร้าพลังจึงเป็นเรื่องการสกัดความรู้จากตัวตนของผู้เล่า | ||||||||||||
วัตถุประสงค์ : | - เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรหน่วยงานได้แสดงออกซึ่งความรู้ ความสามารถ - ประชาสัมพันธ์หน่วยงาน และผลงานผลิตภัณฑ์งานทางวิชาการของหน่วยงาน | ||||||||||||
เป้าหมายและตัวชี้วัด ความสำเร็จของโครงการ : |
การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง การถ่ายทอดประสบการณ์ “เรื่องเล่า เร้าพลัง” การประกวด LIKE Talk กรมอนามัย ให้กับบุคลากรหน่วยงาน จำนวน 25 คน | ||||||||||||
วิธีการดำเนินงาน : | 1. ประชาสัมพันธ์บุคลากรหน่วยงาน 2. จัดทำแผนการดำเนินงาน 3. ประสานงานกับผู้มีประสบการณ์ผ่านเวที LIKE TALK ของกรมอนามัย 4. บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศเข้ารับการและเปลี่ยนเรียนรู้ 5. บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศนำความรู้ที่ได้เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาฝึกปฏิบัติจริง 6. สรุปผลสิ่งที่ได้รับจากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7. มีการถอดบทเรียนรวมรวบจัดเก็บเป็นคลังความรู้ | ||||||||||||
กิจกรรม/เป้าหมาย และประมาณการงบประมาณ : |
|
||||||||||||
งบประมาณ : | 9,355.00 บาท | ||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินการ : | 1 ธ.ค. 2560 - 31 ธ.ค. 2560 | ||||||||||||
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : | 1.บุคลากรศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศมีความรู้ และเชื่อมั่นที่จะไปนำเสนอเรื่องเล่าเร้าพลังในเวทีต่างๆ ต่อไป 2.มีนวัตกรรมในการเผยแพร่องค์ความรู้ให้กับประชาชนด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพ 3. หน่วยงานมีผลงานเพิ่มขึ้น และมีชื่อเสียงในการสร้างนวัตกรรม | ||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ : | นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ ตำแหน่งเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข เบอร์โทร 053-140141 E-mail: numpueng.r@anamai.mail.go.th | ||||||||||||
ผู้เสนอโครงการ : | นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ ตำแหน่งเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||
ผู้เห็นชอบโครงการ : | นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ ตำแหน่งเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |
|||||||||||||
ผู้อนุมัติโครงการ : | นายแมนสรวง วงศ์อภัย | ||||||||||||
(...........................................................) ตำแหน่ง……………….…………………................ |